วันเสาร์ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2561

Implementation of Quality Assurance Standards and Principals' Administrative Effectiveness in Public Secondary Schools in Edo and Delta States

Implementation of Quality Assurance Standards and Principals' Administrative Effectiveness in Public Secondary Schools in Edo and Delta States
Momoh, U.; Osagiobare, Emmanuel Osamiro
World Journal of Education, v5 n3 p107-114 2015
The study investigated principals' implementation of quality assurance standards and administrative effectiveness in public secondary schools in Edo and Delta States. To guide the study, four research questions and hypotheses were raised. Descriptive research design was adopted for the study and the simple random sampling technique was used to select 240 principals and 720 teachers used for the study. Two set of instrument were used to collect data which was analysed using the Mean, Percentage, Pearson's Product Moment Correlation (r), Zero Differentiation Hypothesis and Fisher z statistical tools. The findings revealed that though not all quality assurance standards in Edo and Delta public secondary schools were implemented, the level of principals' administrative effectiveness is high and experience significantly contributed to their performance. It was thus recommended that, principals be empowered to implement quality assurance standards and experience should be major criteria for appointing principals so that quality assurance standards can be effectively implemented.
Sciedu Press. 1120 Finch Avenue West Suite 701-309, Toronto, ON., M3J 3H7, Canada. Tel: 416-479-0028; Fax: 416-642-8548; e-mail: jct@sciedupress.com; Web site: http://www.sciedupress.com/journal/index.php/wje/index/
Publication Type: Journal Articles; Reports - Research
Education Level: Secondary Education
Audience: N/A
Language: English
Sponsor: N/A
Authoring Institution: N/A
Identifiers - Location: Nigeria

Managing Quality Assurance in Higher Education: The Case of the University of Energy and Natural Resources, Ghana

Managing Quality Assurance in Higher Education: The Case of the University of Energy and Natural Resources, Ghana
Anane, George Kwadwo; Addaney, Michael
Journal of Education and Practice, v7 n22 p41-46 2016
The paper discusses quality assurance in the University of Energy and Natural Resources in Ghana. The University is a public funded institution established by an act of parliament; Act 830, 2011. As a newly established public funded University, quality assurance plays a central role in satisfying the requirements of stakeholders on the supply and demand sides of higher education, most importantly the regulatory environment--National Accreditation Board and the National Council for Tertiary Education. The paper discusses how the University manages quality assurance in its operations to bring about continuous improvement in teaching and learning. The paper discusses quality assurance as managed in the University--the successes, challenges and the way forward. The paper discusses some challenges that need critical intervention in the management of quality assurance in the University. These include the scenario where some staff have little understanding of quality assurance issues. Some staff also perceive quality assurance as a tool for victimising staff who fall short of quality standards. The issues discussed are very insightful partly because they come from experiences gathered in the design and implementation of quality assurance structures in a newly established university setting. The experiences shared in this paper would be very helpful to other newly established universities in the management of quality assurance. The paper recommends that the Management of the University needs to sensitise staff on quality assurance as a mandatory accreditation requirement and a tool for continuously enhancing quality standards.
IISTE. No 1 Central, Hong Kong Island, Hong Kong SAR. Tel: +852-39485948; e-mail: JEP@iiste.org; Web site: http://iiste.org/Journals/index.php/JEP
Publication Type: Journal Articles; Reports - Evaluative
Education Level: Higher Education; Postsecondary Education
Audience: N/A
Language: English
Sponsor: N/A
Authoring Institution: N/A
Identifiers - Location: Ghana

Quality Assurance in Higher Education: A Review of Literature

Quality Assurance in Higher Education: A Review of Literature
Ryan, Tricia
Higher Learning Research Communications, v5 n4 Dec 2015
This paper examines the literature surrounding quality assurance in global higher education. It provides an overview of accreditation as a mechanism to ensure quality in higher education, examines models of QA, and explores the concept of quality (including definitions of quality and quality assurance). In addition, this paper provides a review of research on the effectiveness of quality assurance practices, with a particular focus on student involvement with quality assurance.
Laureate Education, Inc. 650 South Exeter Street #12, Baltimore, MD 21202. Tel: 410-843-6100; e-mail: hlrceditor@laureate.net; Web site: http://www.hlrcjournal@laureate.net
Publication Type: Journal Articles; Reports - Research; Information Analyses
Education Level: Higher Education; Postsecondary Education
Audience: N/A
Language: English
Sponsor: N/A
Authoring Institution: N/A


วันอาทิตย์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

โปรแกรมน้ำหนัก ส่วนสูง โรงเรียนบ้านสวนหลวง (รัตนวิจิตรพิทยาคาร)

                 รายงานการเฝ้าระวังภาวะการเจริญเติบโตเด็กอายุ 6-18 ปี ของนักเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร 
โรงเรียนบ้านสวนหลวง  ตำบลสวนหลวง  อำเภอกระทุ่มแบน      จังหวัด สมุทรสาคร     เทอมที่ ............  ปีการศึกษา .................... 
ระดับชั้น จำนวนเด็กทั้งหมด(คน) จำนวนเด็กที่ชั่ง(คน) ครอบคลุม(%) ส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ น้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูง ส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน*
สูงกว่าเกณฑ์(คน) ค่อนข้างสูง (คน) สูงตามเกณฑ์(คน) ค่อนข้างเตี้ย (คน)     เตี้ย    (คน)    อ้วน   (คน) เริ่มอ้วน (คน)     ท้วม    (คน) สมส่วน (คน) ค่อนข้างผอม (คน)    ผอม    (คน)
(คน) (%)
อ.๑     #####     0           0     0 ####
อ.๒     #####     0           0     0 ####
อ.๓     #####     0           0     0 ####
รวม 0 0 ##### 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 ####
ป.๑     #####     0           0     0 ####
ป.๒     #####     0           0     0 ####
ป.๓     #####     0           0     0 ####
ป.๔     #####     0           0     0 ####
ป.๕     #####     0           0     0 ####
ป.๖     #####     0           0     0 ####
รวม 0 0 ##### 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 ####
ม.๑     #####     0           0     0 ####
ม.๒     #####     0           0     0 ####
ม.๓     #####     0           0     0 ####
                                 
                                 
รวม 0 0 ##### 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 ####
รวมทั้งหมด 0 0 ##### 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 ####
หมายเหตุ* เด็กมีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน หมายถึง เด็กที่มีลักษณะการเจริญเติบโต ๓ แบบ คือ 
                ๑. เด็กมีส่วนสูงระดับสูงตามเกณฑ์และมีรูปร่างสมส่วน ๒. เด็กมีส่วนสูงระดับค่อนข้างสูงและรูปร่างสมส่วน ๓. เด็กมีส่วนสูงระดับสูงกว่าเกณฑ์และมีรูปร่างสมส่วน
    ร้อยละของนักเรียนทีมีส่วนสูงตามอายุอยู่ในเกณฑ์ที่ดี (สูงกว่าเกณฑ์+ค่อนข้างสูง+สูงตามเกณฑ์)= ...........
    ร้อยละของนักเรียนที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงอยู่ในเกณฑ์ดี (สมส่วน)= ..............
    ร้อยละของนักเรียนที่มีส่วนสูงตามเกณฑ์อายุอยู่ในระดับเตี้ย+ค่อนข้างเตี้ย = .............
    ร้อยละของนักเรียนที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์ส่วนสูงอยู่ในระดับอ้วน + เริ่มอ้วน = ............

วันเสาร์ที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

การศึกษาปัญหาการดำเนินการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5.

การศึกษาปัญหาการดำเนินการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5.
Title Alternative
The Study of the Problems on Work Performance of Internal Quality Assurance of the Schools under the Jurisdiction of Nakornratchasima Primary Educational Service Area Office 5.

Address: สถานบัณฑิตศึกษา
Organization : มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
Classification :.DDC: 371
Description
Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับปัญหาการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพภายในของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 และ 2) เปรียบเทียบระดับปัญหาการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพภายในของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 จำแนกตามขนาดโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพภายในของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 จำนวน 282 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานโดยใช้ F-test ผลการศึกษา พบว่า 1. ระดับปัญหาการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพภายในของโรงเรียน สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 โดยภาพรวมมีปัญหาอยู่ในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการเตรียมการ รองลงมา ได้แก่ ด้านการดำเนินการ และด้านการรายงาน ตามลำดับ 2. ผลการเปรียบเทียบระดับปัญหาการดำเนินการประกันคุณภาพภายใน ตามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพภายในของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 5 จำแนกตามขนาดโรงเรียน พบว่า มีระดับปัญหาการดำเนินการในภาพรวมไม่แตกต่างกัน
Abstract: This study aimed to: 1) investigate the problem levels on the work performance of the internal quality assurance as the opinions of the school administrators and teachers responsible for the internal quality assurance of the schools under the jurisdiction of Nakornratchasima Primary Educational Service Area Office 5, and 2) compare the problem levels on the internal quality assurance as the opinions of the school administrators and teachers responsible for the internal quality assurance of the schools under the jurisdiction of Nakornratchasima Primary Educational Service Area Office 5, divided as the school sizes. The samples were 282 school administrators and teachers responsible for the internal quality assurance of the schools under the jurisdiction of Nakornratchasima Primary Educational Service Area Office 5. The instrument used for collecting the data was the created five rating-scaled questionnaires with the reliability valued .98. The statistics used for analyzing the data included the percentage, mean, standard deviation and the F-test. The findings of the study revealed that : 1) The problem levels on the work performance of the internal quality assurance as the opinions of the school administrators and teachers responsible for the internal quality assurance of the schools under the jurisdiction of Nakornratchasima Primary Educational Service Area Office 5, as a whole were the problems in the moderate level. When taking considerations into each aspect, it found that the aspect with the highest mean scores was the preparations; the latter were the aspects of conducts and reports respectively. 2) The comparative results of the problem levels on the internal quality assurance as the opinions of the school administrators and teachers responsible for the internal quality assurance of the schools under the jurisdiction of Nakornratchasima Primary Educational Service Area Office 5, divided as the school sizes revealed that the problem levels were not found different.
Publisher
มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ.สำนักวิทยบริการ
Address: ชัยภูมิ
Date
Created: 2011
Modified: 2554-06-27
Issued: 2554-06-27
Type
งานวิจัย/Research report
Format
application/pdf
Source
CallNumber: ศ 675 ก
Language
tha

Grantor: มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิปัจจัยส่งผลต่อสภาพและแนวทางการพัฒนาการประกันคุณภาพภายในของมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
Title Alternative
The factor affected to status and way of internal quality assurance development of Sisaket Rajabhat University

Address: มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
Classification :.DDC: 378.1
Description
Abstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่งผลต่อสภาพและแนวทางการพัฒนาการประกันคุณภาพภายในของมหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษตามความคิดเห็นของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ จำนวน 135 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถามแบบเลือกตอบ แบบมาตราประมาณค่า และแบบปลายเปิด โดยนำข้อมูลมาวิเคราะห์และประมวลผลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป SPSS เพื่อวิเคราะห์หาค่าทางสถิติได้แก่ ความถี่ (Frequency) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และค่าร้อยละ (Percentage) ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ จากการศึกษาพบว่าปัจจัยด้านสภาพในการดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในของมหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ ในภาพรวมมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก โดยเฉลี่ย 3.60 และสามารถจำแนกตามประเด็นด้านต่างๆ ได้ ดังนี้ 1. ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 3.66 ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยสูง คือ มีความมุ่งหมายในการดำเนินงานขององค์กรที่มั่นคงและชัดเจน รองลงมาคือคณาจารย์และบุคลากรที่มีความสามารถในการทำงาน และ มีเกณฑ์ในการวัดผลงานที่มีคุณภาพ 2. ปัจจัยด้านผลผลิตและการบริการ(ผลผลิต หมายถึง บัณฑิต) มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 3.60 ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยสูง คือ การผลิตบัณฑิตและบริการขึ้นอยู่กับความต้องการของสังคมและชุมชน รองลงมาคือการมีส่วนร่วมกับสังคมและชุมชนท้องถิ่นและผู้สนับสนุนมหาวิทยาลัย และประชาชนมีการบอกต่อถึงคุณภาพบัณฑิตและการบริการ 3. ปัจจัยด้านวิธีการดำเนินงานมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 3.60 ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยสูง คือ ติดต่อสื่อสารโดยใช้ข้อมูล รองลงมาคือศึกษาและเรียนรู้จากมหาวิทยาลัยอื่น และมีกระบวนการทำงานทำตามกฎของ PDCA (PLAN-DO-CHECK-ACT) 4. ปัจจัยด้านบุคลากรมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 3.69 ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยสูง คือ คณาจารย์และบุคลากรมีการติดต่อกับสังคมและชุมชนท้องถิ่น รองลงมาคือคณาจารย์และบุคลากรให้ความสำคัญกับการสนับสนุนหน่วยงาน และคณาจารย์และบุคลากรมีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 5. ปัจจัยด้านโครงสร้างองค์กรมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 3.51 ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยสูง คือ มีการมอบหมายความรับผิดชอบและอำนาจหน้าที่ รองลงมาคือมีความเข้าใจบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ และหัวหน้างานมีการสั่งงานด้วยลายลักษณ์อักษร 6. ปัจจัยด้านจิตสำนึกในการทำงาน มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 3.53 ประเด็นที่มีค่าเฉลี่ยสูง คือ มีความเข้าใจว่าบุคลากรทุกคนต้องทำงานของตนให้ดีที่สุด รองลงมาคือมีความเข้าใจว่าหัวหน้างานเป็นผู้ควบคุมและรับผิดชอบในกระบวนการทำงาน มีความเข้าใจว่าทุกผลลัพธ์มาจากกระบวนการ และมีความเข้าใจว่าคุณภาพทุกด้านหมายถึง การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง สำหรับข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการประกันคุณภาพภายในของมหาวิทยาลัยราชภัฎศรีสะเกษ คือ ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ควรให้บุคลากรในมหาวิทยาลัยมีส่วนร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์เกี่ยวกับอนาคต คณาจารย์และบุคลากรควรได้รับการสนับสนุนจากการจัดการ / การบริหารให้มากกว่าเดิม และควรจัดให้มีเกณฑ์ในการวัดผลงานที่ชัดเจนเพื่อให้ผลงานมีคุณภาพ ปัจจัยด้านผลผลิตและการบริการ (ผลผลิต หมายถึง บัณฑิต) ควรให้ประชาชนมีการบอกต่อถึงคุณภาพบัณฑิตและการบริการอย่างต่อเนื่อง ควรมีการตอบสนองต่อความต้องการและความคาดหวังของสังคมและชุมชน ท้องถิ่นอย่างสม่ำเสมอ ควรให้มีการวัดความพึงพอใจของสังคมและชุมชน ท้องถิ่นอย่างกระตือรือร้น และควรให้บุคลกรมีส่วนร่วมกับสังคมและชุมชนท้องถิ่นและผู้สนับสนุนมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง ปัจจัยด้านวิธีการดำเนินงานควรรับฟังความคิดเห็นจากชุมชน ท้องถิ่นและสังคมแล้วนำมาปรับใช้ควรรับฟังความคิดเห็นจากกระบวนการดำเนินงานเสมอ ควรมีการรับผลย้อมกลับ (Feedback) ที่สม่ำเสมอ และควรรับฟังความคิดเห็นของคณาจารย์และเจ้าหน้าที่แล้วนำมาปรับปรุงใช้ในการทำงาน ปัจจัยด้านบุคลากรควรมีการวางแผนกลยุทธ์เกี่ยวกับบุคลากร คณาจารย์และบุคลากรควรมีการทำงานอย่างมีศักยภาพกว่าเดิม ควรมีการรับการฝึกอบรมวิธีการในการปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างต่อเนื่อง คณาจารย์และบุคลากรควรมีส่วนร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์ที่เกี่ยวกับสังคม และชุมชนท้องถิ่นและคณาจารย์และบุคลากรควรยอมรับในการทำงานเป็นทีม ปัจจัยด้านโครงสร้างองค์กรควรมีการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพโดยดำเนินการแบบครอบคลุมทุกหน้าที่ (Cross – function) ควรมีการกระตุ้นให้เกิดความคิดสร้างสรรค์และการเปลี่ยนแปลงในการทำงานควรมีการนำการบริหารกลยุทธ์มาใช้ในกระบวนการบริหารกิจการหลักขององค์การ ควรมีการดำเนินการทุกระบบและกระบวนการโดยใช้หลักของคุณภาพทุกระดับ และควรมีการประสานงานในทุกระดับ ปัจจัยด้านจิตสำนึกในการทำงานควรมีการวัดและประเมินคุณภาพจากความต้องการของผู้รับบริการจากมหาวิทยาลัยเป็นประจำ ควรมีการวัดและติดตามผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการทำงาน ควรทำความเข้าใจว่าคุณภาพทุกด้านหมายถึง การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และควรมีความเข้าใจว่าทุกผลลัพธ์มาจากกระบวนการการทำงาน This research aimed to study the factors affected to affected to status and way of internal quality assurance development of Sisaket Rajabhat University with an idea of Sisaket Rajabhat University ‘s 135 personnel. The used tools were choosing questionnaire, approximate questionnaire and opening questionnaire which had taken data to analyze and to compile with SPSS program for statistic analyzing i.e. frequency, mean, standard deviation and percentage. The result concluded as follows: From the study, it found that the status factors on proceeding of internal quality insurance of Sisaket Rajabhat University totally were in high level of idea averaged 3.60 and they could sort out with several point of issues as follows: 1. The environmental factors were in the high level of idea averaged 3.66,the point averaged highly was the objective on proceeding of organization was firm and clear, the second was lecturers and personnel were able to work and had criteria on work assessment qualitatively. 2. The productive factors and service (production means bachelor) were in the high level of idea averaged 3.60, the point averaged highly was bachelor production and service depended on requirement of society and community, the second was participation with society and local community and University ‘s supporters and people had told the quality of bachelors and service. 3. The proceeding factors were in the high level of idea averaged 3.60, the point averaged highly was communication used data, the second was study and learning from other university and it had working process on law of PDCA (PLAN-DO-CHECK-ACT). 4. The personnel factors were in the high level of idea averaged 3.69, the point averaged highly was lecturers and personnel had communicated with society and local community, the second was lecturers and personnel had played attention with enhance office and they had learned continuously. 5. The factors of organization’s structure were in the high level of idea averaged 3.51, the point averaged highly was the assignment of responsibility and duty, the second was the understanding of role, duty and responsibility and the office leader had commanded with writing. 6. The realizing factors on working were in the high level of idea averaged 3.53, the point averaged highly was it had understood that all personnel must do their job the best, the second was the understanding that the office leaders were controllers and were responsible on working process, the understanding that every result came from the process and the understanding that the any ways of quality mean improvement continuously. For the suggestion of way of internal quality assurance development of Sisaket Rajabhat University, that is, the environmental factors should allow university’s personnel to participate on determination of future vision, lecturers and personnel should get more a support from management / service and standardize on clear performance for making it qualitative. The productive factors and service (production means bachelor) should allow people to tell the bachelor’s quality and continuous service , respond the requirement and expectation of society and local community continuously, measure the social, public and local pleasure enthusiastically, and allow personnel to participate with society, local community and university’s supporters continuously. The proceeding factors should take an idea from local community and society to improve and apply, take always an idea from the process , receive always the feedback and take an idea of lecturers and officers to improve and apply for working. The personnel factors should plan strategy about personnel, lecturers and personnel should work more efficiently, train on improvement of the working process continuously. They should participate on determination of social and local public vision and they should admit on team working. The factors of organization’s structure should efficiently proceed with a process as cross-function, motivate people to have creative idea and the change on working should take managing strategy for using on the process of organization’s core administration, proceed all systems and processes by using all rules of quality and coordinate on all levels. The realizing factors on working should always measure and assess the quality from the requirement of service receivers from university , measure and follow the happening result from working, make understanding that all qualities mean continuous improvement and understand that every result came from the working process.
Publisher
ฝ่ายวิทยบริการและสารสนเทศ. มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
Address: ศรีสะเกษ
Email: dude-48@hotmail.com
Role: สนับสนุนทุนวิจัย
Date
Created: 2550
Modified: 2552-11-18
Issued: 2552-11-18
Type
งานวิจัย/Research report
Format
application/pdf
Language
tha
Rights
©copyrights มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
Rights
©copyrights มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
RightsAccess:

การศึกษาแนวการปฏิบัติที่ดีในการดำเนินการประกันคุณภาพภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดราชบุรี

Description
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการประกันคุณภาพภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดราชบุรี 2) เพื่อหาแนวการปฏิบัติที่ดีในการประกันคุณภาพภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดราชบุรี กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ ผู้บริหาร และครูผู้ดูแลเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดราชบุรี จำนวน 152 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie& Morgan) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง และการสนทนากลุ่ม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสำหรับข้อมูลเชิงปริมาณ และใช้การวิเคราะห์เนื้อหาสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ ผลการวิจัย พบว่า 1. สภาพการดำเนินการประกันคุณภาพภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตามความคิดเห็นของผู้บริหาร พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีระดับการปฏิบัติมีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการกำหนดมาตรฐานของสถานศึกษา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ ด้านการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐาน ส่วนความคิดเห็นของครูผู้ดูแลเด็กในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการจัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษาที่มุ่งเน้นคุณภาพการศึกษา ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา 2. แนวการปฏิบัติที่ดีในการดำเนินการประกันคุณภาพภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดราชบุรี พบว่า มีการเตรียมความพร้อมให้กับบุคลากรด้านการประกันคุณภาพภายใน โดยการส่งบุคลากรเข้ารับการอบรม การมีส่วนร่วมในการวางแผนและปฏิบัติตามแผนงานในลักษณะการทำงานเป็นทีม ทำความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ และปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับมาตรฐาน การทำงานทุกอย่างจะมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยเริ่มจากการเตรียมบุคลากรจากผู้ที่มีความรู้ความสามารถด้านการศึกษาปฐมวัย สามารถดูแลและจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาศักยภาพให้กับเด็กได้ดี รวมถึงดูแลด้านสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกอาคารให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้และเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
Publisher
สำนักวิทยบริการฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
Date
Modified: 2559-02-03
Issued: 2559-02-03
Type
งานวิจัย/Research report
Format
application/pdf
Language
tha
Rights
©copyrights มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง

RightsAccess: